ต้นโอ๊กขาวอเมริกัน

ต้นโอ๊กขาวอเมริกันเป็นหนึ่งในสายพันธุ์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในตลาดส่งออกจากป่าไม้เนื้อแข็งสหรัฐอเมริกา และเป็นสายพันธุ์เฉพาะของทวีปอเมริกาเหนือ ต้นโอ๊กขาวอาจมีการขายตามสายพันธุ์ทางตอนเหนือ ทางตอนใต้ และ ภูมิภาคแอปพาเลเชีย แต่ข้อมูลดังกล่าวอาจเป็นการมองข้ามความแตกต่างของไม้โอ๊กขาวในแต่ละพื้นที่

ชื่อภาษาละติน

สายพันธุ์ Quercus ส่วนใหญ่ Q. alba

ชื่อทั่วไปอื่น ๆ

ต้นโอ๊กขาวทางตอนเหนือ ต้นโอ๊กขาวทางตอนใต้

American_white_oak_big
เปรียบเทียบสายพันธุ์

ต้นโอ๊กขาวขึ้นในอเมริกาเหนือโดยเฉพาะและมีการกระจายอย่างกว้างขางตลอดทั้งภาคตะวันออกของสหรัฐอเมริกาบริเวณป่าไม้เนื้อแข็งแบบผสม เช่นเดียวกับต้นโอ๊กแดงที่มีหลายสายพันธุ์ย่อย ทั้งหมดจัดอยู่ในหมวดหมู่ไม้โอ๊กขาว และรวมกันเป็นกลุ่มสายพันธุ์ที่พบมากที่สุดซึ่งคิดเป็นประมาณ 33% จากทรัพยากรไม้เนื้อแข็งอเมริกัน ต้นไม้เหล่านี้มีความสูง และระบุได้ง่ายจากรูปทรงใบกลมมน ซึ่งจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลในฤดูใบไม้ร่วง  ต้นโอ๊กขาวยังเติบโตตั้งแต่ทางตอนเหนือไปจนถึงทางตอนใต้บางสายพันธุ์ขึ้นบนภูเขาสูงและบริเวณอื่น ๆ บนที่ราบ ซึ่งทำให้เกิดลักษณะที่แตกต่างกันไป ดังนั้น ต้นโอ๊กขาวจึงมีความแตกต่างที่สำคัญขึ้นอยู่กับตำแหน่งพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างต้นโอ๊กทางตอนเหนือที่เติบโตช้ากว่า และต้นโอ๊กทางตอนใต้ที่เติบโตเร็วกว่า เช่นเดียวกับต้นโอ๊กแดง ต้นโอ๊กขาวก็ได้รับการยอมรับว่ามีความยั่งยืนสำหรับการบริโภคภายในประเทศและส่งออก 

การเติบโตของป่า

ข้อมูลจาก FIA แสดงให้เห็นว่าปริมาณการเติบโตของต้นโอ๊กขาวสหรัฐอเมริกา มีจำนวน 2.26 พันล้าน ม3 คิดเป็น 15.4% จากปริมาณการเติบโตของไม้เนื้อแข็งทั้งหมดของสหรัฐอเมริกา ต้นโอ๊กขาวของสหรัฐอเมริกา เติบโตถึง 40.1 ล้าน ม3/ต่อปี ในขณะที่การเก็บเกี่ยวอยู่ที่ 20.1 ล้าน ม3/ต่อปี ปริมาณสุทธิ (หลังจากเก็บเกี่ยว) เพิ่มขึ้น 20.0 ล้าน ม3 ในเเต่ละปี การขยายตัวของต้นโอ๊กขาวสหรัฐอเมริกา เป็นจำนวนมากกว่าการเก็บเกี่ยวในทุก ๆ รัฐส่งออกหลัก

Alabama : 92,786,610 m³ Arkansas : 154,462,740 m³ Arizona : 0 m³ California : 96,100 m³ Colorado : 0 m³ Connecticut : 10,353,470 m³ Washington DC : 0 m³ Delaware : 2,458,880 m³ Florida : 39,743,940 m³ Georgia : 112,403,910 m³ Iowa : 24,820,830 m³ Idaho : 0 m³ Illinois : 41,440,700 m³ Indiana : 33,104,180 m³ Kansas : 9,686,660 m³ Kentucky : 144,323,940 m³ Louisiana : 40,008,160 m³ Massachusetts : 8,762,330 m³ Maryland : 24,229,440 m³ Maine : 816,040 m³ Michigan : 28,041,830 m³ Minnesota : 37,000,910 m³ Missouri : 200,783,970 m³ Mississippi : 61,330,460 m³ Montana : 0 m³ North Carolina : 126,978,730 m³ North Dakota : 4,713,390 m³ Nebraska : 8,809,310 m³ New Hampshire : 2,636,380 m³ New Jersey : 13,782,200 m³ New Mexico : 9,340 m³ Nevada : 0 m³ New York : 30,028,410 m³ Ohio : 44,495,650 m³ Oklahoma : 74,916,670 m³ Oregon : 0 m³ Pennsylvania : 125,672,100 m³ Rhode Island : 2,499,800 m³ South Carolina : 43,889,300 m³ South Dakota : 3,249,560 m³ Tennessee : 186,756,570 m³ Texas : 124,709,940 m³ Utah : 0 m³ Virginia : 208,088,050 m³ Vermont : 1,118,460 m³ Washington : 0 m³ Wisconsin : 39,984,290 m³ West Virginia : 147,462,290 m³ Wyoming : 914,410 m³ 0-30K 30K-60K 60K-90K 90K-120K 120K-150K 150K-180K > 180K Volume of live trees on forest land, 1000 m³ 0 200K All data derives from The Forest Inventory and Analysis Database developed in 2001, a component of the U.S. Forest Service, Department of Agriculture.Data was compiled by AHEC in May 2020 using the most recent state inventory available (2018 for most states).“Forest volume” refers to “Net volume of live trees on forest land" as defined by FIA (see glossary). FIA forest volume data is available for 49 U.S. states (Hawaii and Washington D.C. are omitted) with total commercially significant hardwood forest volume of 14.6 billionWith the 2008 Farm Bill, every US State was tasked to prepare a Forest Action Plan by 2010, reviewed in 2015, to include comprehensiveassessment of forest condition and a strategy for sustainable forestry. Further details are available from theNational Association of State Foresters
Back to whole mainland U.S. 0-20K 20K-40K 40K-60K 60K-80K 80K-100K 100K-120K > 120K Volume of live trees on forest land, 1000 m³ 0 200K
-15K -10K -5K 0 5K 10K 15K 20K 25K GROWTH AND REMOVALS, 1000 m³ -10K -9K -8K -7K -6K -5K -4K -3K -2K -1K 0 1K 2K 3K 4K 5K 6K 7K 8K 9K 10K GROWTH AND REMOVALS, 1000 m³ -2000 -1750 -1500 -1250 -1000 -750 -500 -250 0 250 500 750 1000 1250 1500 1750 2000 GROWTH AND REMOVALS, 1000 m³ -300 -200 -100 0 100 200 300 400 500 GROWTH AND REMOVALS, 1000 m³ Removals 0 Growth 0 Net growth 0
0 200K 400K 600K 800K 1M 1.2M FOREST VOLUME, 1000 m³ 0 40K 80K 120K 160K 200K 240K 280K 320K 360K 400K 440K FOREST VOLUME, 1000 m³ 0 10K 20K 30K 40K 50K 60K 70K 80K 100K FOREST VOLUME, 1000 m³ 0 4K 8K 12K 16K 20K FOREST VOLUME, 1000 m³ Forest volume 0

LCA Tool

1.34
seconds
it takes 1.57 seconds to grow 1m³ of American white oak
The replacement rate is calculated from total U.S. annual increment of the specified hardwood species derived from the U.S. Forest Service Inventory and Analysis (FIA) program and assumes that 2 m³ of logs is harvested to produce 1 m³ of lumber (i.e. 50% conversion efficiency). The rapid rate of replacement is due to the very large volume of hardwood trees in U.S. forest.

Global Warming Potential (Kg CO2 -eq)

03000-30006000-6000

Primary Energy Demand from Resources (MJ)

05000-500010000-10000

Primary Energy Demand from Renewables (MJ)

020000-2000040000-40000

Acidification Potential (Moles of H+ eq.)

04-48-8

Freshwater Eutrophication Potential (Kg P -eq)

00.002-0.0020.004-0.004

Marine Eutrophication Potential (Kg N -eq)

00.08-0.080.16-0.16

Photochemical Ozone Creation Potential (Kg NMVOC)

04-48-8

Resource Depletion (Kg Sb -eq.)

00.0004-0.00040.0008-0.0008
Key
Forestry
Drying
Sawmill
Transport Forest-Kiln
Transport Kiln-Customer
Carbon uptake
Global Warming PotentialPrimary Energy Demand from ResourcesPrimary Energy Demand from RenewablesAcidification PotentialFreshwater Eutrophication PotentialMarine Eutrophication PotentialPhotochemical Ozone Creation PotentialResource Depletion
UnitKg CO2 -eqMJMJMoles of H+ eq.Kg P -eqKg N -eqKg NMVOCKg Sb -eq.
Forestry
/325116000.352/0.0004190.4430.00000253
Drying
98.3148015500.550.0008110.02621.560.000063
Sawmill
-14884523500.2690.0001660.005470.1920.000229
Transport Forest-Kiln
68.995315.40.3170.0004850.008090.3980.0000417
Transport Kiln-Customer
2493320503.890.001140.07222.990.000139
Carbon uptake
-3200///////
Total-29306920156005.380.002610.1125.580.000475
เปรียบเทียบสายพันธุ์

ต้นโอ๊กขาวจากสหรัฐอเมริกา สามารถหาได้ในรูปของไม้เลื่อยแปรรูปและแผ่นไม้อัด โดยมีเกรดและขนาดที่หลากหลาย เนื่องจากระยะเวลาการทำให้แห้งอันยาวนาน ผู้จัดหาบางรายอาจเสนอแหล่งไม้แปรรูปแบบหนากว่า (10/4" และ 12/4") แต่มีในจำนวนจำกัด ในทางตอนเหนือ มีแนวโน้มที่ต้นกระพี้จะมีน้อยกว่าทางตอนใต้ซึ่งเป็นเพราะว่าฤดูการปลูกที่สั้นกว่า ทำให้ไม้จะเติบโตเร็วกว่า พร้อมกับมีลายเนื้อไม้และพื้นผิวที่โปร่งกว้างมากกว่า ต้นโอ๊กขาวอาจจะมีการขายตามสายพันธุ์ทางตอนเหนือ และทางตอนใต้ แต่ข้อมูลดังกล่าวอาจเป็นการมองข้ามความแตกต่างของไม้โอ๊กขาวในแต่ละพื้นที่

เปรียบเทียบสายพันธุ์
  • ต้นโอ๊กขาวมีลายเนื้อไม้ที่สวยคล้ายกับต้นโอ๊กสายพันธุ์อื่น ๆ ที่ปลูกกันทั่วโลก โดยทั่วไปกระพี้ไม้ของต้นโอ๊กขาวจะมีสีขาวถึงสีน้ำตาลอ่อน และแก่นไม้เป็นสีอ่อนถึงกลางหรือสีน้ำตาลเข้ม ความแตกต่างระหว่างกระพี้ไม้และแก่นไม้ของต้นโอ๊กขาวนั้นมีความชัดเจนน้อยกว่าของต้นโอ๊กแดง ไม้ของต้นโอ๊กขาวส่วนใหญ่มีลายเนื้อไม้แบบตรง รวมถึงพื้นผิวเรียบปานกลางไปจนถึงหยาบ 
  • ไม้โอ๊กขาวมีลักษณะเป็นรอยแฉกเป็นเส้นรัศมีภายในเนื้อเยื่อท่อนเมื่อถูกตัด ซึ่งเป็นลักษณะของต้นโอ๊กแท้ (Quercus) ทั้งหมด และรอยแฉกเหล่านี้ในต้นโอ๊กขาวนั้นยาวกว่าของต้นโอ๊กแดง จึงทำให้มีรูปทรงที่เด่นชัดมากกว่า ไม้ของแก่นไม้ไม่ได้มีรูพรุน จึงเหมาะกับการนำมาทำเป็นถังไวน์และใช้งานภายนอก 

คุณสมบัติเชิงกลไก

ต้นโอ๊กขาวอเมริกันมีคุณสมบัติด้านความทนทานโดยรวมดีมากเมื่อเทียบกับน้ำหนัก ซึ่งทำให้ต้นโอ๊กขาวเหล่านี้เป็นพันธุ์ไม้เนื้อแข็งที่เป็นที่ต้องการสำหรับการใช้งานด้านโครงสร้างมากกว่า เนื้อไม้มีลักษณะเป็นไม้เนื้อแข็งและค่อนข้างหนัก มีความทนทานในการดัดงอดีและมีความทนทานในการบีบอัด แต่มีความแข็งน้อย การทดสอบด้านโครงสร้างซึ่งได้ดำเนินการในยุโรปพิสูจน์ว่าต้นโอ๊กขาวมีความทนทานของเส้นใยเฉพาะมากกว่าต้นโอ๊กยุโรป สามารถดัดด้วยไอน้ำได้ดีเยี่ยม จะมีความแข็งแรง อยู่ตัวเมื่อแห้ง และง่ายต่อการเคลือบเงา ย้อมสี รวมถึงยังเป็นที่นิยมอย่างมากในการใช้ทำเครื่องเรือน และงานทำพื้นโดยเฉพาะในตลาดส่งออก

To find out more about the mechanical properties of white oak read the full structural guide.

  • 0.68

    ความถ่วงจำเพาะ (12% M.C)

    769 kg/m3

    น้ำหนักเฉลี่ย (12% M.C)

    12,273 MPa

    ปริมาณการหดตัวเฉลี่ย (เขียว ถึง 6% M.C)

    104.804 MPa

    โมดูลัสของการแตกออก

    12,273 MPa

    โมดูลัสของความยืดหยุ่น

    51.299 MPa

    แรงอัด (ขนานกับลายเนื้อไม้)

    6,049 N

    ความแข็ง
เปรียบเทียบสายพันธุ์
Oiled
oak_white_oiled
Un-oiled
oak_white_unoiled
เปรียบเทียบสายพันธุ์
  • ไม้โอ๊กขาวแปรรูปมีสมรรถนะที่ดีกับเครื่องจักรกล เช่น การตอกและขันสกรู แม้ว่าควรจะมีการเจาะนำร่องก่อน ไม้โอ๊กขาวสามารถติดกันได้ ดี (แต่ควรจะมีการผสมไพรเมอร์ไว้สำหรับการติดกาวโครงสร้าง) และสามารถย้อมสี และขัดเงาเพื่อให้ได้พื้นผิวที่เรียบสวยงาม  ไม้จะต้องนำไปทำให้แห้งอย่างช้า ๆ และระมัดระวังเพื่อหลีกเลี่ยงการสึกกร่อน รวมถึงมีการหดตัวในแนวรัศมีและสัมผัสวงที่ต่างกันสูง ดังนั้นอาจไวต่อการเคลื่อนไหวในสมรรถนะในสภาวะที่ชื้น ไม้มีคุณสมบัติในการเจาะ และเคลือบเงาที่ดีเยี่ยม
  • แก่นไม้มีความทนทานต่อการผุพัง และทนต่อการเก็บรักษาด้วยการรักษาเนื้อไม้  
เปรียบเทียบสายพันธุ์

ไม้ที่ได้รับการจัดการอย่างยั่งยืนภายในป่าธรรมชาติของอเมริกาเหนือ รวมถึงมีการรับรองด้านสิ่งแวดล้อมที่ยอดเยี่ยม เป็นสายพันธุ์หลักในตลาดส่งออกต่าง ๆ การใช้งานหลักคือ ใช้ทำเครื่องเรือน พื้น ประตู สถาปัตยกรรมงานไม้กรอบประตูหน้าต่าง การการหล่อและตู้ครัว ไม้ยังนำมาใช้ในการใช้งานบางอย่างสำหรับการก่อสร้าง ประกอบไปด้วย คานโครงสร้างเคลือบกาวและการใช้งานเฉพาะทางอื่น ๆ

การหล่อ
วัสดุทำพื้นห้อง
เครื่องเรือน
ประตู
ตู้
Glulam beams

ตัวอย่างการใช้งาน

Albert Road by Stephen Jolson
Chapel of St Albert the Great by Simpson & Brown Architects
Church Crescent by Evonort Architects
Huesca Palace of Congress by Beneytez and Lafuente
Mechlelen Museum by Driesen and Le Compte
Milan expo flooring by James Biber
Narin Chair by David Irwin and Case Furniture
The Living Staircase by Paul Cocksedge Studio
Lord’s Warner Stand by Populous Architects