ต้นโอ๊กแดงอเมริกัน

ต้นโอ๊กแดงอเมริกันเป็นสายพันธุ์หลักในป่าไม้เนื้อแข็งของสหรัฐอเมริกา มีลายเนื้อไม้ที่โดดเด่น และมีเนื้อไม้ที่ไม่ใช่สีแดงเสมอไป ชื่อเรียกมาจากสีใบไม้ในฤดูใบไม้ร่วง ไม้โอ๊กแดงจะมีการขายโดยทั่วไปใน ‘ตอนเหนือ’ ‘ตอนใต้' และ ‘ภูมิภาคแอปพาเลเชีย'

ชื่อภาษาละติน

สายพันธุ์ Quercus กลุ่ม Q. rubra

ชื่อทั่วไปอื่น ๆ

โอ๊กแดงเหนือ โอ๊กแดงใต้

American_red_oak_big
เปรียบเทียบสายพันธุ์

ต้นโอ๊กแดงขึ้นตามธรรมชาติและแทบจะมีแต่ในอเมริกาเหนือเท่านั้นแม้ว่าจะมีการปลูกในที่อื่นด้วย ไม้เหล่านี้กระจายอยู่ทั่วไปในพื้นที่ส่วนใหญ่ทางภาคตะวันออกของสหรัฐอเมริกาในป่าไม้เนื้อแข็งแบบผสม ต้นโอ๊กแดงเป็นต้นไม้ที่สูงมาก ต้นโอ๊กแดงมีสายพันธุ์ย่อยมากมาย ทั้งหมดจัดอยู่ในหมวดหมู่ไม้โอ๊กแดง ซึ่งขึ้นทางตอนเหนือจรดทางตอนใต้ บางสายพันธุ์ขึ้นบนภูเขาสูง บางสายพันธุ์ขึ้นในพื้นที่ราบ ซึ่งได้ทำให้เกิดลักษณะที่แตกต่างกัน ดังนั้น ต้นโอ๊กแดงมีความหลากหลายที่สำคัญขึ้นอยู่กับแต่ละพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างต้นโอ๊กแดงทางตอนเหนือที่โตช้ากว่าและต้นโอ๊กแดงทางตอนใต้ที่โตเร็วกว่า ต้นโอ๊กแดงได้รับการพิจารณาให้เป็นต้นไม้ที่มีความยั่งยืนสูงไม่ว่าจะใช้สำหรับการบริโภคภายในประเทศหรือการส่งออก และเนื่องจากเป็นกลุ่มสายพันธุ์ไม้ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด จึงทำให้มีความแพร่หลายมากกว่าต้นโอ๊กขาว 

การเติบโตของป่า

ข้อมูลจาก FIA แสดงให้เห็นว่าปริมาณการเติบโตของไม้โอ๊กแดงในสหรัฐอเมริกา มีจำนวน 2.62 พันล้าน ม3 คิดเป็น 18% จากปริมาณการเติบโตของไม้เนื้อแข็งในสหรัฐอเมริกาทั้งหมด ต้นโอ๊กแดงในสหรัฐอเมริกาโตขึ้น 60.6 ล้าน ม3/ต่อปี ขณะที่การเก็บเกี่ยวเป็นจำนวน 31.9 ล้าน ม3/ต่อปี ปริมาณสุทธิ (หลังจากเก็บเกี่ยว) เพิ่มขึ้น 28.7 ล้าน ม3 ในเเต่ละปี ไม้โอ๊กแดงในสหรัฐอเมริกา โตกว่าหรือเท่ากับการเก็บเกี่ยวในทุกมลรัฐยกเว้นมลรัฐเท็กซัส 

Alabama : 157,862,980 m³ Arkansas : 149,805,670 m³ Arizona : 0 m³ California : 0 m³ Colorado : 0 m³ Connecticut : 35,408,300 m³ Washington DC : 0 m³ Delaware : 3,537,830 m³ Florida : 69,533,730 m³ Georgia : 166,319,390 m³ Iowa : 14,604,850 m³ Idaho : 0 m³ Illinois : 42,308,960 m³ Indiana : 40,183,430 m³ Kansas : 6,538,490 m³ Kentucky : 95,707,850 m³ Louisiana : 106,717,250 m³ Massachusetts : 47,526,990 m³ Maryland : 25,594,730 m³ Maine : 29,594,870 m³ Michigan : 82,490,120 m³ Minnesota : 33,564,090 m³ Missouri : 152,667,210 m³ Mississippi : 162,766,620 m³ Montana : 0 m³ North Carolina : 119,497,290 m³ North Dakota : 0 m³ Nebraska : 264,030 m³ New Hampshire : 40,027,900 m³ New Jersey : 19,029,030 m³ New Mexico : 0 m³ Nevada : 0 m³ New York : 89,012,320 m³ Ohio : 53,438,010 m³ Oklahoma : 39,770,960 m³ Oregon : 0 m³ Pennsylvania : 154,801,800 m³ Rhode Island : 8,566,480 m³ South Carolina : 92,185,850 m³ South Dakota : 0 m³ Tennessee : 119,573,340 m³ Texas : 89,190,600 m³ Utah : 0 m³ Virginia : 146,622,240 m³ Vermont : 10,661,310 m³ Washington : 0 m³ Wisconsin : 94,370,380 m³ West Virginia : 123,034,590 m³ Wyoming : 0 m³ 0-30K 30K-60K 60K-90K 90K-120K 120K-150K 150K-180K > 180K Volume of live trees on forest land, 1000 m³ 0 200K All data derives from The Forest Inventory and Analysis Database developed in 2001, a component of the U.S. Forest Service, Department of Agriculture.Data was compiled by AHEC in May 2020 using the most recent state inventory available (2018 for most states).“Forest volume” refers to “Net volume of live trees on forest land" as defined by FIA (see glossary). FIA forest volume data is available for 49 U.S. states (Hawaii and Washington D.C. are omitted) with total commercially significant hardwood forest volume of 14.6 billionWith the 2008 Farm Bill, every US State was tasked to prepare a Forest Action Plan by 2010, reviewed in 2015, to include comprehensiveassessment of forest condition and a strategy for sustainable forestry. Further details are available from theNational Association of State Foresters
Back to whole mainland U.S. 0-20K 20K-40K 40K-60K 60K-80K 80K-100K 100K-120K > 120K Volume of live trees on forest land, 1000 m³ 0 200K
-15K -10K -5K 0 5K 10K 15K 20K 25K GROWTH AND REMOVALS, 1000 m³ -10K -9K -8K -7K -6K -5K -4K -3K -2K -1K 0 1K 2K 3K 4K 5K 6K 7K 8K 9K 10K GROWTH AND REMOVALS, 1000 m³ -2000 -1750 -1500 -1250 -1000 -750 -500 -250 0 250 500 750 1000 1250 1500 1750 2000 GROWTH AND REMOVALS, 1000 m³ -300 -200 -100 0 100 200 300 400 500 GROWTH AND REMOVALS, 1000 m³ Removals 0 Growth 0 Net growth 0
0 200K 400K 600K 800K 1M 1.2M FOREST VOLUME, 1000 m³ 0 40K 80K 120K 160K 200K 240K 280K 320K 360K 400K 440K FOREST VOLUME, 1000 m³ 0 10K 20K 30K 40K 50K 60K 70K 80K 100K FOREST VOLUME, 1000 m³ 0 4K 8K 12K 16K 20K FOREST VOLUME, 1000 m³ Forest volume 0

LCA Tool

0.59
seconds
it takes 1.04 seconds to grow 1m³ of American red oak
The replacement rate is calculated from total U.S. annual increment of the specified hardwood species derived from the U.S. Forest Service Inventory and Analysis (FIA) program and assumes that 2 m³ of logs is harvested to produce 1 m³ of lumber (i.e. 50% conversion efficiency). The rapid rate of replacement is due to the very large volume of hardwood trees in U.S. forest.

Global Warming Potential (Kg CO2 -eq)

03000-30006000-6000

Primary Energy Demand from Resources (MJ)

05000-500010000-10000

Primary Energy Demand from Renewables (MJ)

020000-2000040000-40000

Acidification Potential (Moles of H+ eq.)

04-48-8

Freshwater Eutrophication Potential (Kg P -eq)

00.002-0.0020.004-0.004

Marine Eutrophication Potential (Kg N -eq)

00.08-0.080.16-0.16

Photochemical Ozone Creation Potential (Kg NMVOC)

04-48-8

Resource Depletion (Kg Sb -eq.)

00.0004-0.00040.0008-0.0008
Key
Forestry
Drying
Sawmill
Transport Forest-Kiln
Transport Kiln-Customer
Carbon uptake
Global Warming PotentialPrimary Energy Demand from ResourcesPrimary Energy Demand from RenewablesAcidification PotentialFreshwater Eutrophication PotentialMarine Eutrophication PotentialPhotochemical Ozone Creation PotentialResource Depletion
UnitKg CO2 -eqMJMJMoles of H+ eq.Kg P -eqKg N -eqKg NMVOCKg Sb -eq.
Forestry
/308110000.333/0.0003970.4190.0000024
Drying
89.7135014100.5020.000740.02391.530.0000575
Sawmill
-14080022200.2550.0001580.005180.1820.000217
Transport Forest-Kiln
60.383513.40.2780.0004250.007080.3480.0000365
Transport Kiln-Customer
228304045.83.560.001050.06622.740.000127
Carbon uptake
-3000///////
Total-27606330147004.930.002370.1035.220.000441
เปรียบเทียบสายพันธุ์

ไม้โอ๊กแดงจากสหรัฐอเมริกาหาได้ง่ายในลักษณะไม้เลื่อยแปรรูปและแผ่นไม้อัด โดยมีหลายขนาดและหลายเกรด ไม้แปรรูปอย่างหนา (10/4" และ 12/4") มีปริมาณค่อนข้างน้อยจากผู้ขายเฉพาะ แต่มีมากในอุตสาหกรรมไม้เนื้อแข็งซึ่งมีขนาดตั้งแต่ 4/4" (25.4 มม.) ถึง 8/4" (52 มม.) ในทางตอนเหนือ พบกระพี้น้อยกว่าเนื่องจากฤดูเพาะปลูกสั้นกว่าทางตอนใต้ซึ่งต้นไม้จะโตเร็วกว่า และมีลายเนื้อไม้กับพื้นผิวที่หลากหลายกว่า ไม้โอ๊กแดงจะมีการขายตามสายพันธุ์ ‘ทางตอนเหนือ’ และ ‘ทางตอนใต้' แต่ข้อมูลดังกล่าวอาจเป็นการมองข้ามความแตกต่างของไม้โอ๊กแดงในแต่ละพื้นที่

เปรียบเทียบสายพันธุ์
  • โดยปกติ ส่วนกระพี้ของโอ๊กแดงจะเป็นสีน้ำตาลอ่อน และส่วนแก่นไม้จะมีตั้งแต่สีโทนชมพูไปจนถึงสีน้ำตาลแดง แต่ก็ไม่เสมอไป สีส่วนกระพี้ และแก่นไม้มีความแตกต่างอย่างชัดเจน ไม้โอ๊กแดงโดยทั่วไปมีลายเนื้อไม้แบบตรงและพื้นผิวหยาบ 
  • คุณสมบัติไม้โอ๊กแดงแท้ (Quercus) คือมีลายไข และลายไขจะเล็กกว่าไม้โอ๊กขาว เนื้อไม้มีรูพรุน สังเกตได้ง่ายจากปลายของลายเนื้อไม้ จึงไม่เหมาะที่จะนำมาทำถังเก็บไวน์ 

คุณสมบัติเชิงกลไก

ไม้โอ๊กแดงอเมริกันมีคุณสมบัติด้านความแข็งแรงโดยรวมหลายอย่างเมื่อเทียบกับน้ำหนัก ไม้โอ๊กแดงเป็นไม้เนื้อแข็งและมีน้ำหนักมาก ประกอบกับความคงทนต่อการโค้งงอในระดับปานกลาง มีความแข็งและความทนต่อแรงบีบอัดได้สูง สามารถดัดด้วยไอน้ำได้ดีเยี่ยม เมื่อไม้แห้งจะมีลักษณะแข็งและคงสภาพ เคลือบ และย้อมสีได้ง่าย นิยมใช้ทำเครื่องเรือนและการทำพื้น

To find out more about the mechanical properties of red oak read the full structural guide.

0.63

ความถ่วงจำเพาะ (12% M.C)

705 kg/m3

น้ำหนักเฉลี่ย (12% M.C)

6.6%

ปริมาณการหดตัวเฉลี่ย (เขียว ถึง 6% M.C)

98.599 MPa

โมดูลัสของการแตกออก

12,549 MPa

โมดูลัสของความยืดหยุ่น

46.610 MPa

แรงอัด (ขนานกับลายเนื้อไม้)

5,738 N

ความแข็ง
เปรียบเทียบสายพันธุ์
Oiled
oak_red_oiled
Un-oiled
oak_red_unoiled
เปรียบเทียบสายพันธุ์

ไม้โอ๊กแดงแปรรูปใช้กับเครื่องจักรได้ดี พร้อมกับสมรรถนะในการขันสกรูและตอกตะปูได้ดี แต่ต้องมีการเจาะนำร่องก่อน ไม้แผ่นแปรรูปโอ๊กแดงใช้งานกับกาวได้ดี สามารถย้อมสี และขัดเงาให้เนื้อไม้ออกมาเงางามได้  รูพรุนในเนื้อไม้โอ๊กแดงทำให้ดูดซึมสารต่าง ๆ ได้ดี เมื่อไม้แห้งสนิทจะค่อย ๆ ลดการสึกกร่อนลงที่ละน้อย แต่จะหดตัวลงมาก และอาจไวต่อการเคลื่อนไหวในสมรรถนะในสภาพอากาศชื้น แก่นไม้โอ๊กแดงทนต่อการผุพังเล็กน้อย สามารถใช้สารกันเสียเพื่อชะลอการผุพังได้ในระดับปานกลาง สิ่งนี้ทำให้ต้นโอ๊กแดงเหมาะสำหรับการดัดแปลงผ่านกระบวนการความร้อน 

เปรียบเทียบสายพันธุ์

กลุ่มสายพันธุ์ที่ได้รับการจัดการอย่างยั่งยืนภายในป่าธรรมชาติของอเมริกาเหนือกลุ่มนี้และเป็นกลุ่มที่มีการรับรองด้านสิ่งแวดล้อมที่ยอดเยี่ยม เป็นสายพันธุ์หลักในตลาดส่งออก การใช้งานหลักคือ ใช้ทำเครื่องเรือน พื้น ประตู ไม้กรอบประตูหน้าต่าง การหล่อและตู้ครัวเป็นหลัก อีกทั้งยังใช้สำหรับการก่อสร้างในบางงาน

การหล่อ
วัสดุทำพื้นห้อง
เครื่องเรือน
ประตู
ตู้

ตัวอย่างการใช้งาน

essay 4_square_thumbnail.jpg
The Nest_square_thumbnail2.jpg
Dovetail_square_thumbnail.jpg
bloomberg_square_thumbnail.jpg
Botin Foundation by MVN Arquitectos
Yale Forestry School by Hopkins Architects
blushing_bar_square_thumbnail.jpg
fugu_square_thumbnail.jpg
Yale Forestry School by Hopkins Architects